“นักวิจัยติดดาว” ประจำปีการศึกษา 2566 อาจารย์ ดร. สุวรรณา  เชียงขุนทด

ผลงานวิชาการ พ.ศ. 2564 พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร, สุวรรณา เชียงขุนทด และพุทธวรรณ ชูเชิด. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการหกล้มกับ สภาพจิตใจของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลตำรวจ, 13(2), 434-443. (ก.ค.-ธ.ค. 64). TCI 1 พ.ศ. 2565 สุวรรณา เชียงขุนทด, พุทธวรรณ ชูเชิด, เสาวลักษณ์ จิรธรรมคุณ และพัสมณฑ์ คุ้มทวีพร. (2565). การศึกษา ภาระค่าใช้จ่ายในการมารับบริการที่โรงพยาบาลของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. วารสารพุทธจิตวิทยา, 7(2), 172-185. (ก.ค.-ธ.ค. 65). TCI 1 พ.ศ. Read More …

คณะพยาบาลศาสตร์ ขอเชิญเข้าร่วมประชุมวิชาการ ประจำปี 2567 เรื่อง “การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อพัฒนาสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี”

Download –  โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์การประชุมวิชาการ  –  กำหนดการประชุม –  ขั้นตอนการลงทะเบียนการประชุมวิชาการประจำปี 2567 (สำหรับโควตาแหล่งฝึกงานนักศึกษา)  ขอเชิญศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์เข้าร่วมงานคืนสู่เหย้า “ดอกปีบคืนต้น สานสัมพันธ์พี่น้อง” Share this…FacebookPinterestTwitterLinkedin

“นักวิจัยติดดาว” ประจำปีการศึกษา 2565 อาจารย์สุกฤตา ตะการีย์

ผลงานวิชาการ1.พรทิพย์ สงวนพันธุ์ และสุกฤตา ตะการีย์. (2562). ผลของการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในการพยาบาลมารดาเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอดในโรงพยาบาลสามพราน จังหวัดนครปฐม. รายงานสืบเนื่องในงานประชุมวิชาการระดับชาติ “พลังพยาบาลกับอนาคตพยาบาลไทยในยุค 4.0: สังคมปัญญาประดิษฐ์”. จัดโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช จังหวัดราชบุรี ระหว่างวันที่ 21-22 พฤศจิกายน 2562 หน้า 208-217. Share this…FacebookPinterestTwitterLinkedin

พัฒนาการเรียนการสอนด้วยการจัดการความรู้ (KM) 2564

คณะพยาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม มีพันธกิจในการผลิตบัณฑิตพยาบาล เพื่อให้การจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษามีคุณภาพ ทางคณะฯ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อสร้างบัณฑิตให้เป็นผู้นำ มีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะที่จำเป็นในการพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ วิธีการหนึ่งที่สามารถทำให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจดังกล่าว คือ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ทั้งในระดับสาขาวิชาและระดับคณะ ทั้งนี้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานประกันคุณภาพ ที่ได้กำหนดให้มีการจัดการความรู้ด้านการผลิตบัณฑิตและการวิจัย (ตัวบ่งชี้ที่ 7.2) และมาตรฐานในด้านการจัดระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (ตัวบ่งชี้ที่ 2.6)                      การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ เป็นกระบวนการปฏิบัติเพื่อสร้างบัณฑิตพยาบาล ซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพออกไปปฏิบัติภารกิจในการบริการสุขภาพอนามัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าและจัดลำดับความสำคัญได้ ซึ่งเป็นการผสมผสานประมวลความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้มีความสัมพันธ์กันและสามารถประยุกต์ได้  ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านวิชาการที่มีลักษณะเป็นรูปแบบการประยุกต์ใช้มากขึ้น  นักศึกษาต้องปรับตัวในด้านการเรียนรู้ ที่ต้องศึกษาค้นคว้าสิ่งใหม่ๆ เพื่อพัฒนาความคิดให้ทันสมัยและแข่งขันกับผู้อื่นได้ เป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้นักศึกษาในการคิดสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นในวิชาชีพต่อไป คณะพยาบาลศาสตร์จึงมุ่งเน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยวิธีการสอนที่หลากหลาย แต่จากการประเมินคะแนนผลการสอบครั้งที่ 1 พบว่า ผลการเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ประกอบกับคุณสมบัติของนักศึกษาในปัจจุบันทุกด้านเป็นปัญหาที่ต้องร่วมแก้ไข ดังนั้น รายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุจึงได้จัดให้มีโครงการการจัดการความรู้ในกระบวนการจัดการเรียนสอน Read More …

พัฒนาการเรียนการสอนด้วยการจัดการความรู้ (KM) 2563

คณะพยาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม มีพันธกิจในการผลิตบัณฑิตพยาบาล เพื่อให้การจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษามีคุณภาพ ทางคณะฯ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อสร้างบัณฑิตให้เป็นผู้นำ มีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะที่จำเป็นในการพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ วิธีการหนึ่งที่สามารถทำให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจดังกล่าว คือ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ทั้งในระดับสาขาวิชาและระดับคณะ ทั้งนี้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานประกันคุณภาพ ที่ได้กำหนดให้มีการจัดการความรู้ด้านการผลิตบัณฑิตและการวิจัย (ตัวบ่งชี้ที่ 7.2) และมาตรฐานในด้านการจัดระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (ตัวบ่งชี้ที่ 2.6)                      การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ เป็นกระบวนการปฏิบัติเพื่อสร้างบัณฑิตพยาบาล ซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพออกไปปฏิบัติภารกิจในการบริการสุขภาพอนามัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าและจัดลำดับความสำคัญได้ ซึ่งเป็นการผสมผสานประมวลความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้มีความสัมพันธ์กันและสามารถประยุกต์ได้  ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านวิชาการที่มีลักษณะเป็นรูปแบบการประยุกต์ใช้มากขึ้น  นักศึกษาต้องปรับตัวในด้านการเรียนรู้ ที่ต้องศึกษาค้นคว้าสิ่งใหม่ๆ เพื่อพัฒนาความคิดให้ทันสมัยและแข่งขันกับผู้อื่นได้ เป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้นักศึกษาในการคิดสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นในวิชาชีพต่อไป คณะพยาบาลศาสตร์จึงมุ่งเน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยวิธีการสอนที่หลากหลาย แต่จากการประเมินคะแนนผลการสอบครั้งที่ 1 พบว่า ผลการเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ประกอบกับคุณสมบัติของนักศึกษาในปัจจุบันทุกด้านเป็นปัญหาที่ต้องร่วมแก้ไข ดังนั้น รายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุจึงได้จัดให้มีโครงการการจัดการความรู้ในกระบวนการจัดการเรียนสอน Read More …

“นักวิจัยติดดาว” ประจำปีการศึกษา 2562 ดร.วราภรณ์ คำรศ

ผลงานเด่นที่สำคัญ           1. ผู้ทรงคุณวุฒิทบทวนบทความเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ให้กับหน่วยวารสาร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2562 2. คณะวิทยากร อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “กลยุทธ์ในการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ” ให้กับคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ. 2561 3. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยสยาม จากสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยสยาม ปี 2555 4. รางวัลชมเชยนักวิจัยรุ่นใหม่ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2562 งานตีพิมพ์           1. Waraporn Khumros, Chanida Mattavangkul, Chaisit Thansuk. Read More …

E-learning

Share this…FacebookPinterestTwitterLinkedin