
มหาวิทยาลัยสยาม Siam University ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ โดยวิธีรับตรง (สอบข้อเขียน) ประจำปีการศึกษา 2567 ประกาศ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2567 คลิกดูรายชื่อที่นี่ : https://admission.siam.edu/2024/03/15/n15367/
มหาวิทยาลัยสยาม Siam University ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ โดยวิธีรับตรง (สอบข้อเขียน) ประจำปีการศึกษา 2567 ประกาศ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2567 คลิกดูรายชื่อที่นี่ : https://admission.siam.edu/2024/03/15/n15367/
ขอแสดงความยินดีแก่ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 26 ที่สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ในพิธีรับมอบแถบหมวกและเข็มเครื่องหมาย 14 มีนาคม 2567 คลิกดูภาพและบรรยากาศเพิ่มเติมได้ที่นี่QA Nursing Siam Uคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์ และ มีสิทธิ์เข้ารับการตรวจร่างกาย การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม TCAS รอบที่ 1 การรับด้วยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ประจำปีการศึกษา 2567 คลิกดูรายชื่อที่นี่
ติดต่อสมัครที่ ศูนย์รับสมัครอาคาร 19 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยสยาม เปิดวันจันทร์ถึงเสาร์ เวลา 8.30-16.30 น. หรือสมัคร online ที่ https://admission.siam.edu/apply/
ติดต่อสมัครที่ ศูนย์รับสมัครอาคาร 19 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยสยาม รับสมัคร ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 15 มกราคม ถึงวันพุธ 6 มีนาคม 2567 เปิดวันจันทร์ถึงเสาร์ เวลา 8.30-16.30 น. หรือสมัคร online ที่ https://admission.siam.edu/apply/
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์ การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม TCAS รอบที่ 1 การรับด้วยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ประจำปีการศึกษา 2567 คลิกดูรายชื่อที่นี่
รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมการประชุมวิชาการด้านวิจัย ฟรี โดยสแกน QR code กรอกใบสมัคร ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567 ( CNEU 7 หน่วยคะแนน)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ขอเชิญชวนน้องๆ มัธยมศึกษา เข้าร่วมงาน “Open House Siam Nurse 2023” วันที่ 30 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2566 ที่มหาวิทยาลัยสยาม คณะพยาบาลศาสตร์ อาคาร 12 ชั้น 10กิจกรรมประกอบด้วย– การแข่งขันตอบคำถามวิชาการ 4.00 (หัวข้อกายวิภาคศาสตร์สรีวิทยาและการพยาบาลพื้นฐาน) – เรียนรู้วิธีการช่วยฟื้นคืนชีพขึ้นพื้นฐาน (CPR) และการพยาบาลสหรับผู้ป่วยวิกฤติ
ประเพณีสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่ประชาชนในภาคใต้ของไทย ที่รับมาจากอินเดียโดยเฉพาะชาวนครศรีธรรมราชซึ่งมีการติดต่อค้าขายกับชนชาติอินเดีย โดยวัฒนธรรมและอารยธรรมอินเดียส่วนใหญ่ถ่ายทอดมากับความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งมีประเพณีที่เรียกว่า “เปตพลี” เป็นประเพณีที่จัดขึ้นอุทิศแก่ผู้ตาย คำว่า “เปต” นั้นมีรากศัพท์มาจากภาษาบาลี ตรงกับคำว่า “เปรต” ในภาษาสันสกฤต แปลว่าผู้ไปก่อน อันหมายถึงบรรพบุรุษที่ตายไปแล้ว ซึ่งในความเชื่อถ้าตอนมีชีวิตอยู่บนโลกเป็นคนดีมีคุณธรรม พระยายมจะพาวิญญาณไปสู่แดนอันเป็นอันเป็นที่สุข แต่ถ้าทำกรรมชั่วก็จะพาไปลงนรกแดนอเวจี ดังนั้นลูกหลานเกรงว่า บรรพบุรุษของตนที่ตายไปอาจจะตกนรก วิธีการช่วยไม่ให้บรรพบุรุษเหล่านั้นตกนรก คือการทำบุญอุทิศส่วนกุศลส่งไปให้เรียกว่า “พิธีศราทธ์” (ศราทธ์เป็นภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีว่าสารท) ซึ่งได้กำหนดวิธีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ ซึ่งเรียกว่าทำบุญทักษิณานุปทานหรือเปตพลี ส่วนในความเชื่อของชนชาติไทยนั้นก็จะมีการเซ่นไหว้ผีบ้านผีเรือนหรือผีปู่ย่าตายายที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณกาล ก็เป็นความเชื่อเดียวกับความเชื่อของอินเดียจะต่างกันอยู่ที่ผีปู่ย่าตายายของไทยมักอยู่ตามบ้านเรือนของลูกหลาน ส่วนผีบรรพบุรุษของชาวอินเดียเมื่อตายแล้วจะเผาภายใน ๑๐ วัน และเชื่อว่าร่างกายถูกไฟเผาจะอ่อนปวกเปียก แต่เมื่อลูกหลานทำพิธีศราทธ์ให้แล้วจะมีร่างกายที่แข็งแรงขึ้น
อาจารย์และนักศึกษาตัวแทนคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ร่วมพิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน“วันมหิดล” ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน ของทุกปี ด้วยพระราชกรณียกิจที่ได้ทรงวางรากฐานแก่วงการแพทย์ และการสาธารณสุขของไทยให้เจริญก้าวหน้า บุคลากรทางการแพทย์ การสาธารณสุข จึงได้ถือให้วันนี้เป็นวัน “มหิดล” เพื่อถวายราชสักการะ และน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณแห่งสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระผู้ได้รับการถวายพระสมัญญาภิไธยเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระองค์ให้เป็น “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขไทย”